วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ลักษณะสังคมชมพูทวีปก่อนสมัยพระพุทธเจ้า


ลักษณะสังคมชมพูทวีปก่อนสมัยพระพุทธเจ้า

ในสมัยพุทธกาล อินเดียหรือชมพูทวีป แบ่งอาณาเขตเป็น 2 เขตคือเขตภาคกลาง เรียกว่า มัชฉิมชนบทหรือมัธยมประเทศ เป็นที่อยู่ของชนชาติอริยกะ หรืออารยัน แปลว่า ผู้เจริญเป็นดินแดนของชนผิวขาวเขตรอบนอก เรียกว่า ประจันตชนบทหรือประจันตประเทศ คือ ประเทศปลายเขตเป็นที่อยู่ของชนชาติมิลักขะ หรืออนารยชน เป็นดินแดน อ่านเพิ่มเติม


หมอชีวกโกมารภัจจ์


หมอชีวกโกมารภัจจ์ 


เป็นบุตรของนางสาลวดี นครโสเภณีประจำเมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ในสมัยนั้นตำแหน่งนี้มีเกียรติยศต่างจากในสมัยนี้ นางสาลวดีตั้งครรภ์โดยบังเอิญ เมื่อคลอดบุตรชายออกมาจึงสั่งให้สาวใช้นำไปทิ้ง แต่อภัยราชกุมาร พระราชโอรสของพระเจ้าอชาตศัตรูไปพบเข้า จึงนำมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม อ่านเพิ่มเติม

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ

                เป็นชาวศรีลังกา และเป็นชาวพุทธที่ศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย ก่อนบวชท่านได้ฟังสถานการณ์พุทธสถานจาก เซอร์เอ็ดวิน อาร์โนลด์ แล้ว ท่านได้ตัดสินใจบวชเป็นนักบวช (ยังไม่บวชเป็นพระ) เดินทางมาอินเดีย ท่านพัฒนาป่าอิสิปตนะมฤคทายวันให้เป็นพุทธสถาน ซึ่งเดิมมีการสร้างพระวิหารอยู่แล้ว แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ต่อ มารัฐบาลของอินเดีย ได้จัดสรรที่ดินให้ท่าน 20 เอเคอร์ (ประมาณ 50 ไร่) และท่านก็ได้พัฒนาให้เป็นสวนที่มีคุณค่าพร้อมกับการก่อสร้าง อ่านเพิ่มเติม

ด.ร.อัมเบดการ์


ด.ร.อัมเบดการ์

           ด.ร.อัมเบดการ์ถือว่าเป็นผู้ที่ชาวพุทธควรจดจำและยกย่องท่านในฐานะ ที่ท่านได้นำพุทธศาสนากลับเข้ามายังประเทศอินเดียอีกครั้งหนึ่ง  ท่านมีจุดมุ่งหมายเพื่อต่อสู้ให้ประเทศอินเดียหลุดพ้นจากการเป็นประเทศอาณานิคมของอังกฤษ เช่นเดียวกันกับ       มหาตะมะคานธี แต่ถึงแม้ว่าท่านทั้งสองจะมีจุดมุ่งหมายในการทำงานเหมือนกันแต่มีแนวความคิดต่างกัน  มหาตะมะคานธียึดถือการแบ่งชนชั้นวรรณะในอินเดีย และถือว่าชั้นวรรณะเป็นเอกลักษณ์ของชาวอินเดีย อ่านเพิ่มเติม


อริยสัจ 4


อริยสัจ 4

 มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริงเหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ 4
1. ทุกข์
คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็นทุกข์ ความเศร้าโศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความวิตกกังวล ความกลัวและความผิดหวังล้วนเป็น ทุกข์ 

อ่านเพิ่มเติม

หลักธรรมทางศาสนา

หลักธรรมทางศาสนา
   1.ขันธ์ หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม
      รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
    - ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
    - ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
    - ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
    - ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อน อ่านเพิ่มเติม


ศาสนพิธี

พิธี คือ แบบอย่าง

             แบบแผน หรือรูปแบบต่างๆ ที่พึงปฏิบัติในทางศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาเรียกว่า ศาสนพิธี   ความจริงเรื่อง ศาสนพิธี เป็นเรื่องที่มีด้วยกันทุกศาสนา และเป็นเรื่องเกิดขึ้นทีหลังศาสนา หมายความว่า มีศาสนาเกิดขึ้นก่อนแล้วจึงมีพิธีต่างๆ เกิดตามมาภายหลัง แม้ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาก็เช่นกัน เกิดขึ้นภายหลังทั้งสิ้นเหตุเกิดศาสนพิธีในพระพุทธศาสนานี้ ก็เนื่องจากมีหลักการของพระพุทธศาสนา อ่านเพิ่มเติม